หลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จ
การศึกษาพระสมเด็จด้วยการพิจารณาเนื้อหาและธรรมชาติความเก่าเชิงเปรียบเทียบ
ผ่านเศษแตกหักของพระสมเด็จทั้งสามวัดและพระตระกูลสมเด็จ
เนื่องจากปัจจุบันพระสมเด็จที่จัดสร้างโดยสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ทั้งสามวัด ได้แก่วัดระฆัง วัดบางขุนพรหม และวัดเกศไชโย มีค่าความนิยมสูงและเป็นที่สุดยอดแห่งการแสวงหาของนักนิยม สะสมพระเครื่องและบุคคลทั่วไป เป็นอย่างมาก ซึ่งการพิจารณาพระสมเด็จ จะศึกษาจากหลักใหญ่ ๆ ได้แก่ พิมพ์ทรงหนึ่ง เนื้อหามวลสารหนึ่ง และธรรมชาติความเก่าหนึ่ง ซึ่งการที่จะให้เกิดความกระจ่างในการศึกษาพระ สมเด็จให้พอวินิจฉัยได้ด้วยตนเอง ต้องใช้ระยะเวลายาวนานในการศึกษาข้อมูล ทั้งยังต้องมีโอกาสได้ผ่านตาพระ สมเด็จแท้ ๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งในปัจจุบันมีความยากลำบากอย่างยิ่งที่จะหาตัวอย่างพระสมเด็จแท้ ๆ สักองค์มาได้พิจารณาเนื่องจากค่านิยมของพระสมเด็จทั้งสามวัดมีราคาสูงมากถึง หลักล้านบาท ทำให้เกิดอุปสรรคยากลำบากต่อการศึกษาความรู้เกี่ยวกับพระสมเด็จ เป็นอย่างมาก
ซึ่งการศึกษาพิจารณาพระสมเด็จที่กล่าวมา จะศึกษาจากหลักใหญ่ ๆ ได้แก่ พิมพ์ทรงหนึ่ง เนื้อหามวลสารหนึ่ง และธรรมชาติความเก่าหนึ่ง ซึ่งการศึกษาในเรื่องของพิมพ์ทรงของพระสมเด็จที่มีมากมายหลายพิมพ์ทรง แต่ละพิมพ์ทรงก็มีหลายบล๊อก ซึ่งอาจศึกษาได้จากหนังสือตำราต่าง ๆ ที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก
เนื่อง จากการปลอมพระสมเด็จในด้านพิมพ์ทรงปัจจุบันใช้เทคนิคการปลอมอันทันสมัย เรื่องการถอดพิมพ์ให้เหมือนเกือบ 100 % แม้แต่เหรียญเก่า ๆ ของคณาจารย์ที่มีตำหนิในพิมพ์ทรงมากมายเพื่อการพิจารณา ก็มีการทำปลอมด้วย บล็อกคอมพิวเตอร์ ก็ยังทำได้เหมือนจนผู้ชำนาญการแยกของแท้กับของปลอมโดย พิจารณาจากตำหนิในพิมพ์ทรงก็ดูไม่ค่อยออก เพราะฉะนั้นในพิมพ์ทรงพระสมเด็จ ที่ไม่ได้มีตำหนิซับซ้อนเมื่อเทียบกับเหรียญคณาจารย์ ก็ทำให้ไม่ยากต่อการปลอมแปลงพิมพ์ทรงแต่อย่างใด ทำได้ง่ายมาก นอกจากนี้ในวงการพระสมเด็จในระดับสายตรงก็รับทราบกันทั่วไปว่ามีการพบแม่ พิมพ์ของพระสมเด็จพิมพ์ใหญ่ยุคเก่าตกค้างอยู่และมีนักปลอมพระสมเด็จระดับสุด ยอดทำการกดพิมพ์จากแม่พิมพ์จริงออกมาอาละวาดไปทั่ววงการจนโดนกันไปทั่วหน้า เพราะส่องอย่างไรก็มีพิมพ์ทรงถูกต้องทุกประการ ผิดกันที่เนื้อหามวลสารและความเก่าเท่านั้น นอกจากนี้ยังไม่อาจพิสูจน์ได้ว่าแม่พิมพ์เดิมที่ตกค้างยังมีพิมพ์อื่น ๆ อีกหรือไม่ทำให้การศึกษาพระสมเด็จโดยเน้นพิมพ์ทรงเป็นสำคัญเป็นเรื่องยาก ขึ้น
ซึ่ง ท่านปรมาจารย์แห่งการศึกษาพระสมเด็จ ตรียัมปวายได้ให้ข้อเตือนใจนักนิยมพระ สมเด็จว่า จุดชี้ขาดของพระสมเด็จนั้นวัดกันที่เนื้อหามวลสารและธรรมชาติความ เก่า เป็นประเด็นสำคัญเหนือกว่าพิมพ์ทรง ดังนั้นการศึกษาในเรื่องเนื้อหาและธรรมชาติความเก่าของพระสมเด็จเป็นสิ่งที่ น่าสนใจในการศึกษา เพราะว่าถ้าแม่นเนื้อหามวลสารและธรรมชาติความเก่าก็จะมีพื้นฐานที่ดีต่อการ พิจารณาพระสมเด็จเป็นอย่างมาก
แต่การพิจารณาในเรื่องเนื้อหามวลสารและธรรมชาติความเก่าของพระสมเด็จ มีความยาก ลำบากต่อการศึกษาเป็นอย่างมาก เพราะจะต้องรวบรวมตัวอย่างของเนื้อหาของพระ สมเด็จทั้งสามวัดรวมทั้งพระตระกูลสมเด็จทุกตระกูลเพื่อเป็นพื้นฐานของการ วิจัยเชิงเปรียบเทียบด้านเนื้อหา โดยพิจารณาคำนวณอายุของเนื้อผงจากการประเมินทางสายตา เพื่อค้นหา ความแตกต่างระหว่างพระสมเด็จแท้กับพระสมเด็จปลอม และ พระสมเด็จแท้กับพระตระกูลสมเด็จที่เนื้อจัด
ดังนั้นเพื่อให้เกิดความกระจ่างในการพิจารณาพระสมเด็จในด้านเนื้อหามวลสารและ ธรรมชาติความเก่า ทำให้อาจารย์อริยะ สุพรรณเภษัช ผู้อำนวยการโรงเรียนถนอมพิศวิทยา ที่เคยมีประสบการณ์จากการที่เคยศึกษาพระกรุเก่าโบราณเนื้อดิน-เนื้อ ชิน ขณะเมื่อเริ่มศึกษาจะชอบซื้อพระกรุที่สภาพสึก ๆ หรือเศษหักของพระกรุแท้ ๆ มาศึกษา ซึ่งจะทำให้มีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหามวลสารและธรรมชาติความเก่าของ พระได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะทำให้สามารถวินิจฉัยถึงสภาพความเก่าและประเมินอายุ ของพระนั้น ๆ ได้ว่าเป็นพระกรุของเมืองไหน ยุคใด สมัยใด จึงได้นำหลักการดังกล่าวมาใช้เมื่อต้องการศึกษาพระสมเด็จ
ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมาจึงได้พยายามรวบรวมพระตระกูลสมเด็จทุกสภาพเอาไว้จำนวนมากเพื่อนำมา ศึกษาโดยเช่าหาพระสมเด็จแท้ ๆ ที่แตกหักและพระตระกูลสมเด็จทุกสภาพจากนิตยสารพระเครื่องต่าง ๆ และจากสนามพระทั่วไป เพื่อนำมาพิจารณาวิจัยในเชิงเปรียบเทียบอายุความเก่า แต่ในปัจจุบัน พ.ศ. 2554 พบว่าสนามพระทั่วไปและพระที่ออกให้บูชาตามนิตยสารพระเครื่องที่เคยมี พระเนื้อผงตระกูลสมเด็จพิมพ์ต่าง ๆ ก็ไม่มีพระสมเด็จยุคเก่าให้บูชา ถึงมีก็มีราคาแพงอยู่ในหลักหมื่นทั้งเนื้อหาก็ไม่จัดจ้านเทียบยุคพระสมเด็จ ได้ ทำให้เกิดความยากลำบากต่อการศึกษามากขึ้น
ซึ่ง หลังจากศึกษามาหลายปี วันหนึ่งได้พบความลับบางประการในเนื้อหามวลสารของพระสมเด็จ ทำให้ได้ข้อสรุป ชี้ขาดถึงการพิจารณาเนื้อหามวลสารและธรรมชาติของเก่าของพระสมเด็จได้ในระดับ หนึ่ง ทำให้รู้ว่าพระสมเด็จที่เคยคิดว่าแท้โดยดูจากเนื้อหาโดยรวมนั้น จริง ๆ แล้วมวลสารของสมเด็จบางตัวจะเป็นตัวชี้ขาดซึ่งความเก่าไม่เก่าของพระได้ อย่างเด็ดขาด ซึ่งถึงแม้ว่าเนื้อหาจะดูหนึกนุ่มน่าดูเพียงใดก็ตาม ถ้ามวลสารที่เห็นมันผิดจากที่กำหนดแล้ว พระองค์นั้นจะต้องเป็นพระสร้างภายหลังและไม่ถึงยุคสมเด็จทั้งสิ้น นอกจากนี้เนื้อหามวลสารบางอย่างถ้าเราศึกษาจริงก็จะพบว่ามีเฉพาะในพระสมเด็จ เท่านั้น ถ้าเราค้นพบมวลสารดังกล่าวประกอบกับเนื้อหาที่จัดถึงยุค ก็น่าจะสามารถฟันธงได้อย่างมั่นใจ
เนื่องจากการที่อาจารย์อริยะได้สะสมพระสมเด็จของสามวัดหลักและพระตระกูล สมเด็จแทบทุกวัดในสภาพพระสึกและเศษหักต่าง ๆที่ขาดความสวยงามแต่มวลสารจัดดูง่ายในเนื้อหาที่เรียกหากันว่าพระสมเด็จ เนื้อครู ไว้เป็นจำนวนมากหลายสิบกล่องใหญ่ ที่ใช้เวลารวบรวมมามากกว่าสิบปี ตอนแรกคิดว่าพระสมเด็จเหล่านั้นเมื่อได้ศึกษาผ่านไปแล้วก็คิดจะขายออกไป ราคาถูก ๆ เพื่อเอาทุนคืน
แต่อาจารย์อริยะ เห็นว่าปัจจุบันมีผู้ที่นิยมพระสมเด็จเป็นจำนวนมากต้องประสบความยากลำบากใน การศึกษาพระสมเด็จด้านการพิจารณาเนื้อหาและธรรมชาติความเก่าเนื่องจากขาด ตัวอย่างพระสมเด็จเนื้อครูเพื่อที่จะนำมาศึกษา ดังนั้น การศึกษาเชิงเปรียบเทียบผ่านเศษหักของพระสมเด็จทั้งสามวัดและพระกูลสมเด็จ อาจเป็นแนวทางหนึ่งที่พอช่วยเหลือให้นักนิยมพระสมเด็จให้มีสายตาที่พอจะ สามารถวินิจฉัยและประเมินถึงสภาพความเก่าของพระสมเด็จได้ด้วยตนเองในระดับ หนึ่ง ซึ่งข้าพเจ้าจึงได้เปิดหลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จ เพื่อศึกษาพระสมเด็จด้วยการพิจารณาเนื้อมวลสารและธรรมชาติความเก่าเชิง เปรียบเทียบผ่านเศษแตกหักของพระสมเด็จทั้งสามวัดและพระตระกูลสมเด็จขึ้น
สำหรับ ผู้ที่สนใจจะศึกษาพระสมเด็จในแนวทางดังกล่าวกับ อาจารย์อริยะ สุพรรณเภษัช โดยผู้สนใจในการศึกษาอาจจะศึกษาพระสมเด็จเนื้อครูทุกองค์ผ่านทางเวปไซต์ ศูนย์ศึกษามวลสารพระสมเด็จในประเทศไทย ที่ตั้งอยู่บนเวปไซต์ของโรงเรียนถนอม พิศวิทยาได้ตามสะดวกโดยไม่คิดมูลค่า หรือถ้าต้องการศึกษาพิจารณาส่องดู เนื้อหามวลสารจากองค์ จริง ก็สามารถติดต่อเพื่อฝึกอบรมในหลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จ ในการควบคุมของ ศูนย์ศึกษามวลสารพระสมเด็จในประเทศไทย โดยติดต่อกับอาจารย์อริยะ สุพรรณเภษัช โดยตรง
****************************************************************************
หลักสูตรที่เปิดการฝึกอบรม
หลักสูตรที่เปิดการฝึกอบรม
ศูนย์ศึกษามวลสารพระสมเด็จและหลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จ
เนื่องจากปัจจุบันพระสมเด็จที่จัดสร้างโดยสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ทั้งสามวัด ได้แก่วัดระฆัง วัดบางขุนพรหม และวัดเกศไชโย มีค่าความนิยมสูงและเป็นที่สุดยอดแห่งการแสวงหาของนักนิยม สะสมพระเครื่องและบุคคลทั่วไป เป็นอย่างมาก ซึ่งการพิจารณาพระสมเด็จ จะศึกษาจากหลักใหญ่ ๆ ได้แก่ พิมพ์ทรงหนึ่ง เนื้อหามวลสารหนึ่ง และธรรมชาติความเก่าหนึ่ง ซึ่งการที่จะให้เกิดความกระจ่างในการศึกษาพระ สมเด็จให้พอวินิจฉัยได้ด้วยตนเอง ต้องใช้ระยะเวลายาวนานในการศึกษาข้อมูล ทั้งยังต้องมีโอกาสได้ผ่านตาพระ สมเด็จแท้ ๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งในปัจจุบันมีความยากลำบากอย่างยิ่งที่จะหาตัวอย่างพระสมเด็จแท้ ๆ สักองค์มาได้พิจารณาเนื่องจากค่านิยมของพระสมเด็จทั้งสามวัดมีราคาสูงมากถึง หลักล้านบาท ทำให้เกิดอุปสรรคยากลำบากต่อการศึกษาความรู้เกี่ยวกับพระสมเด็จ เป็นอย่างมาก ซึ่งการศึกษาพิจารณาพระสมเด็จที่กล่าวมา จะศึกษาจากหลักใหญ่ ๆ ได้แก่ พิมพ์ทรงหนึ่ง เนื้อหามวลสารหนึ่ง และธรรมชาติความเก่าหนึ่ง ซึ่งการศึกษาในเรื่องของพิมพ์ทรงของพระสมเด็จที่มีมากมายหลายพิมพ์ทรง แต่ละพิมพ์ทรงก็มีหลายบล๊อก ซึ่งอาจศึกษาได้จากหนังสือตำราต่าง ๆ ที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก
เนื่องจากการปลอมพระสมเด็จในด้านพิมพ์ทรงปัจจุบันใช้เทคนิคการปลอมอันทันสมัย เรื่องการถอดพิมพ์ให้เหมือนเกือบ 100 % แม้แต่เหรียญเก่า ๆ ของคณาจารย์ที่มีตำหนิในพิมพ์ทรงมากมายเพื่อการพิจารณา ก็มีการทำปลอมด้วย บล็อกคอมพิวเตอร์ ก็ยังทำได้เหมือนจนผู้ชำนาญการแยกของแท้กับของปลอมโดย พิจารณาจากตำหนิในพิมพ์ทรงก็ดูไม่ค่อยออก เพราะฉะนั้นในพิมพ์ทรงพระสมเด็จ ที่ไม่ได้มีตำหนิซับซ้อนเมื่อเทียบกับเหรียญคณาจารย์ ก็ทำให้ไม่ยากต่อการปลอมแปลงพิมพ์ทรงแต่อย่างใด ทำได้ง่ายมาก ซึ่งท่านปรมาจารย์แห่งการศึกษาพระสมเด็จ ตรียัมปวายได้ให้ข้อเตือนใจนักนิยมพระ สมเด็จว่า จุดชี้ขาดของพระสมเด็จนั้นวัดกันที่เนื้อหามวลสารและธรรมชาติความ เก่า เป็นประเด็นสำคัญเหนือกว่าพิมพ์ทรง ดังนั้นการศึกษาในเรื่องเนื้อหาและธรรมชาติความเก่าของพระสมเด็จเป็นสิ่งที่น่าสนใจในการศึกษา เพราะว่าถ้าแม่นเนื้อหามวลสารและธรรมชาติความเก่าก็จะมีพื้นฐานที่ดีต่อการพิจารณาพระสมเด็จเป็นอย่างมาก
แต่การพิจารณาในเรื่องเนื้อหามวลสารและธรรมชาติความเก่าของพระสมเด็จ มีความยากลำบากต่อการศึกษาเป็นอย่างมาก เพราะจะต้องรวบรวมตัวอย่างของเนื้อหาของพระสมเด็จทั้งสามวัดรวมทั้งพระตระกูลสมเด็จทุกตระกูลเพื่อเป็นพื้นฐานของการ วิจัยเชิงเปรียบเทียบด้านเนื้อหา โดยพิจารณาคำนวณอายุของเนื้อผงจากการประเมินทางสายตาเพื่อค้นหาความแตกต่างระหว่างพระสมเด็จแท้กับพระสมเด็จปลอม และ พระสมเด็จแท้กับพระตระกูลสมเด็จที่เนื้อจัด
ดังนั้นเพื่อให้เกิดความกระจ่างในการพิจารณาพระสมเด็จในด้านเนื้อหามวลสารและ ธรรมชาติความเก่า ทำให้อาจารย์อริยะ สุพรรณเภษัช ผู้อำนวยการโรงเรียนถนอมพิศวิทยา ที่เคยมีประสบการณ์จากการที่เคยศึกษาพระกรุเก่าโบราณเนื้อดิน-เนื้อ ชิน ขณะเมื่อเริ่มศึกษาจะชอบซื้อพระกรุที่สภาพสึก ๆ หรือเศษหักของพระกรุแท้ ๆ มาศึกษา ซึ่งจะทำให้มีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหามวลสารและธรรมชาติความเก่าของ พระได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะทำให้สามารถวินิจฉัยถึงสภาพความเก่าและประเมินอายุ ของพระนั้น ๆ ได้ว่าเป็นพระกรุของเมืองไหน ยุคใด สมัยใด จึงได้นำหลักการดังกล่าวมาใช้เมื่อต้องการศึกษาพระสมเด็จ
ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมาจึงได้พยายามรวบรวมพระตระกูลสมเด็จทุกสภาพเอาไว้จำนวนมากเพื่อนำมา ศึกษาโดยเช่าหาพระสมเด็จแท้ ๆ ที่แตกหักและพระตระกูลสมเด็จทุกสภาพจากนิตยสารพระเครื่องต่าง ๆ และจากสนามพระทั่วไป เพื่อนำมาพิจารณาวิจัยในเชิงเปรียบเทียบอายุความเก่า แต่ในปัจจุบัน พ.ศ. 2549 พบว่าสนามพระทั่วไปและพระที่ออกให้บูชาตามนิตยสารพระเครื่องที่เคยมี พระเนื้อผงตระกูลสมเด็จพิมพ์ต่าง ๆ ก็ไม่มีพระสมเด็จยุคเก่าให้บูชา ทำให้เกิดความยากลำบากต่อการศึกษามากขึ้น
ซึ่ง หลังจากศึกษามาหลายปี วันหนึ่งได้พบความลับบางประการในเนื้อหามวลสารของพระสมเด็จ ทำให้ได้ข้อสรุป ชี้ขาดถึงการพิจารณาเนื้อหามวลสารและธรรมชาติของเก่าของพระสมเด็จได้ในระดับ หนึ่ง ทำให้รู้ว่าพระสมเด็จที่เคยคิดว่าแท้โดยดูจากเนื้อหาโดยรวมนั้น จริง ๆ แล้วมวลสารของสมเด็จบางตัวจะเป็นตัวชี้ขาดซึ่งความเก่าไม่เก่าของพระได้ อย่างเด็ดขาด ซึ่งถึงแม้ว่าเนื้อหาจะดูหนึกนุ่มน่าดูเพียงใดก็ตาม ถ้ามวลสารที่เห็นมันผิดจากที่กำหนดแล้ว พระองค์นั้นจะต้องเป็นพระสร้างภายหลังและไม่ถึงยุคสมเด็จทั้งสิ้น
เนื่องจากการที่อาจารย์อริยะได้สะสมพระสมเด็จของสามวัดหลักและพระตระกูล สมเด็จแทบทุกวัดในสภาพพระสึกและเศษหักต่าง ๆที่ขาดความสวยงามแต่มวลสารจัดดูง่ายในเนื้อหาที่เรียกหากันว่าพระสมเด็จ เนื้อครู ไว้เป็นจำนวนมากกว่าสิบกล่องใหญ่ ที่ใช้เวลารวบรวมมามากกว่าสามปี ตอนแรกคิดว่าพระสมเด็จเหล่านั้นเมื่อได้ศึกษาผ่านไปแล้วก็คิดจะขายออกไป ราคาถูก ๆ เพื่อเอาทุนคืน
แต่อาจารย์อริยะ เห็นว่าปัจจุบันมีผู้ที่นิยมพระสมเด็จเป็นจำนวนมากต้องประสบความยากลำบากใน การศึกษาพระสมเด็จด้านการพิจารณาเนื้อหาและธรรมชาติความเก่าเนื่องจากขาด ตัวอย่างพระสมเด็จเนื้อครูเพื่อที่จะนำมาศึกษา ดังนั้น การศึกษาเชิงเปรียบเทียบผ่านเศษหักของพระสมเด็จทั้งสามวัดและพระกูลสมเด็จ อาจเป็นแนวทางหนึ่งที่พอช่วยเหลือให้นักนิยมพระสมเด็จให้มีสายตาที่พอจะ สามารถวินิจฉัยและประเมินถึงสภาพความเก่าของพระสมเด็จได้ด้วยตนเองในระดับ หนึ่ง ซึ่งข้าพเจ้าจึงได้เปิดหลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จ เพื่อศึกษาพระสมเด็จด้วยการพิจารณาเนื้อมวลสารและธรรมชาติความเก่าเชิง เปรียบเทียบผ่านเศษแตกหักของพระสมเด็จทั้งสามวัดและพระตระกูลสมเด็จขึ้น สำหรับผู้ที่สนใจจะศึกษาพระสมเด็จในแนวทางดังกล่าวกับ อาจารย์อริยะ สุพรรณเภษัช โดยผู้สนใจในการศึกษาอาจจะศึกษาพระสมเด็จเนื้อครูทุกองค์ผ่านทางเวปไซต์ศูนย์ศึกษามวลสารพระสมเด็จในประเทศไทย ที่ตั้งอยู่บนเวปไซต์ของโรงเรียนถนอมพิศวิทยาได้ตามสะดวกโดยไม่คิดมูลค่า หรือถ้าต้องการศึกษาพิจารณาส่องดูเนื้อหามวลสารจากองค์ จริง ก็สามารถติดต่อเพื่อฝึกอบรมในหลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จ ในการควบคุมของ ศูนย์ศึกษามวลสารพระสมเด็จในประเทศไทย โดยติดต่อกับอาจารย์อริยะ สุพรรณเภษัช โดยตรง
หลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จระดับพื้นฐาน
การศึกษาพระสมเด็จด้วยการพิจารณาเนื้อหาและธรรมชาติความเก่าเชิงเปรียบเทียบ
ผ่านเศษแตกหักของพระสมเด็จทั้งสามวัดและพระตระกูลสมเด็จ
หลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จระดับพื้นฐาน (ระยะเวลาการอบรม 6 ชั่วโมง)
ระยะเวลาในการฝึกอบรม : 6 ชั่วโมง ค่าธรรมเนียมในการฝึกอบรม : 5,000 บาท
ศึกษาพื้นฐานการพิจารณามวลสารพระตระกูลพระสมเด็จเนื้อครูยุคต่าง ๆ และการศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหว่างเนื้อหามวลสารพระตระกูลสมเด็จกับชิ้นส่วนพระสมเด็จแท้วัดระฆัง วัดบางขุนพรหม และวัดเกศไชโย
เนื้อหาหลักสูตร
ชั่วโมงที่ 1-3 : ศึกษาพื้นฐานการพิจารณามวลสารพระตระกูลพระสมเด็จเนื้อครูยุคต่าง ๆ
จำนวน 6 ยุค ได้แก่
· ยุค 1 พระที่มีอายุมากกว่าพระสมเด็จ
พระสมเด็จอรหัง พระวัดพลับ พระวัดโค่ง พระกรุวัดทัพข้าว พระกรุวัดสามปลื้ม
· ยุค 2 พระในยุคพระสมเด็จ
พระสมเด็จวัดระฆัง พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พระสมเด็จวัดเกศไชโย
· ยุค 3 พระที่สร้างภายหลังพระสมเด็จ 2414-2450
พระสมเด็จปิลันทร์ พระวัดรังษี พระสมเด็จวัดเฉลิมพระเกียรติ พระกรุวัดเงินคลองเตย
พระสมเด็จวัดโพธิ์เกรียบ พระสมเด็จหลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร พระสมเด็จวัดทรงประมูล
พระวัดปากบาง พระสมเด็จหลวงปู่ปั้น วัดสะพานสูง พระสมเด็จ หลวงปู่อ้น วัดบางจาก พระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว พระกรุวัดอัมพวา
· ยุค 4 พระที่สร้างภายหลังพระสมเด็จ 2450-2480
พระสมเด็จ เจ้าคุณสุนทร วัดกัลยา พระสมเด็จ พระครูสังฆ์ วัดอินทรวิหาร พระสมเด็จแช่น้ำมนต์ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี พระสมเด็จมฤคทายวัน พระสมเด็จหลวงพ่อหม่น วัดคลองสิบสอง พระสมเด็จหลวงพ่อโชติ วัดตะโน พระกรุวัดคู้สลอด จ.อยุธยา พระสมเด็จพิมพ์อรหัง กรุวัดชนะสงคราม
· ยุค 5 พระที่สร้างภายหลังพระสมเด็จ 2481-2594
พระสมเด็จหลวงปู่นาค วัดระฆัง ยุคต้น 2485 พระสมเด็จพระครูมูล พิมพ์ทรงเจดีย์ 2485 พระชุดสระหลวงปู่เผือก รุ่นอินโดจีน พระสมเด็จหลวงพ่อครื้น วัดสังโฆ พิมพ์เข่าบ่วง พระสมเด็จหลวงปู่รอด วัดเกริ่น พระกรุวัดอัมพวัน พระสมเด็จหลวงปู่เลี่ยม วัดศรีเรืองบุญ
· ยุค 6 พระที่สร้างภายหลังพระสมเด็จ 2494-2510
พระสมเด็จหลวงปู่นาค วัดระฆัง ยุคกลาง 2495 พระสมเด็จพระครูมูล พิมพ์มีหน้าตา 2495
พระสมเด็จหลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว รุ่นสร้างเจดีย์ 2496 พระสมเด็จเผ่า วัดอินทรวิหาร 2495
พระสมเด็จ วัดประสาทบุญญาวาศ 2506 พระสมเด็จหลวงปู่ลำภู วัดอินทรวิหาร 2502
พระสมเด็จหลวงตาพัน วัดอินทรวิหาร 2502
ชั่วโมง 4-6 : ศึกษาพื้นฐานการพิจารณาเนื้อหามวลสารชิ้นส่วนพระสมเด็จระฆัง วัดบางขุนพรหม และวัดเกศไชโย เปรียบเทียบกับเนื้อหามวลสารพระตระกูลพระสมเด็จเนื้อครูยุคต่าง ๆ
*********************************************************
หลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จระดับสูง
การศึกษาพระสมเด็จด้วยการพิจารณาสภาพธรรมชาติของพื้นผิวทั้งภายในและภายนอกพระสมเด็จ สภาพธรรมชาติแห่งพิมพ์ทรง ตลอดจนมวลสารสำคัญ
หลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จระดับสูง
ระยะเวลาในการฝึกอบรม : 6 ชั่วโมง ค่าธรรมเนียมในการฝึกอบรม : 5,000 บาท
เนื้อหาหลักสูตร
ชั่วโมงที่ 1-3 : ศึกษาด้านความรู้ทางด้านสภาพธรรมชาติแห่งพื้นผิวภายนอกและภายในของพระสมเด็จ
:การพิจารณาศึกษาสภาพธรรมชาติต่าง ๆ ทางด้านหลังของพระสมเด็จ เพื่อชี้ชัดความเก่าแก่ตามธรรมชาติ เช่น รอยปริแยก รอยหนอนด้น รูพรุนปลายเข็ม ฯ
:การพิจารณาศึกษาลักษณะต่าง ๆ ทางด้านหลังของพระสมเด็จ ทั้ังที่ที่เกิดจากร่องรอยของการสร้างพระสมเด็จและสภาพการเปลี่ยนแปลง เช่น สภาพหลังเรียบ หลังสังขยา หลังรอยปาด ฯ
: การพิจารณาศึกษาพระ สมเด็จสมเด็จที่ผ่านการเซาะ การกรอ การแกะ เพื่อใช้ในการแยกแยะพระสมเด็จแท้ กับพระตระกูลสมเด็จเนื้อจัดหรือพระสมเด็จเก๊เก่าที่ผ่านการเซาะ การกรอ การแกะ ถ้าพิจารณาเฉพาะเนื้อหามวลสารภายนอกอาจจะหลงอุปทานว่าเป็นพระสมเด็จได้
:ด้านความรู้เกี่ยวกับการพิจารณารอยแตกหักของพระสมเด็จ ที่เมื่อเห็นรอยแตกหักแล้วสามารถชี้ชัดได้เลยว่าเป็นพระสมเด็จทันยุคสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสีหรือไม่
ชั่วโมงที่ 4-6 : ศึกษาด้านความรู้ทางด้านธรรมชาติแห่งพิมพ์ทรงของพระสมเด็จ และเคล็ดลับแห่งมวลสาร
ตลอดจนแยกพระสมเด็จของสมเด็จโตที่เก่า 150 ปี ออกจากพระสมเด็จเกจิเก่า 100 ปี
: การพิจารณาศึกษาสภาพธรรมชาติของเส้นสายพิมพ์ทรงของพระสมเด็จ ที่เรียกว่าเส้นขนมจีน และสภาพพื้นผิวด้านข้าง สภาพรอยตัดที่เรียก รากผักชี รอยตอกตัด
: การพิจารณาศึกษาเพื่อทราบความแตกต่างระหว่างพระสมเด็จที่ถอดพิมพ์กับพระ สมเด็จไม่ถอดพิมพ์เพื่อใช้ในการแยกแยะพระสมเด็จเก๊เก่าที่เนื้อหามวลสารดี แต่ส่วนใหญ่ร้อยละ99 มักจะถอดพิมพ์มา กับพระสมเด็จแท้พิมพ์ดั้งเดิม
: การพิจารณาพระสมเด็จโดยใช้เคล็ดลับด้านประสาทสัมผัส แม้แต่หลับตาจับพระสมเด็จลูบคลำอยู่ในอุ้งมือก็สามารถพิจารณาพระว่าเก๊แท้ อย่างหยาบ ๆ ได้
: การพิจารณาให้รับรู้ถึงมวลสารเงินล้าน ในวงการพระสมเด็จระดับสูงถือว่าเป็นความลับสุดยอด ซึ่งถือว่าเป็นมวลสารสำคัญสุดยอดที่พบเฉพาะพระสมเด็จเท่านั้น การค้นพบมวลสารดังกล่าวเป็นปัจจัยสำคัญของการจ่ายเงินนับล้านบาทของเซียน ใหญ่เพื่อเช่าบูชาพระสมเด็จที่แท้อย่างมั่นใจ
และแนวทางการพิจารณาพระจากภาพกล้อง 1000X เพื่ิอพิจารณาพระที่มีอายุ 150 ปี
ตลอดจนวิธีพิจารณาคัดแยกพระสมเด็จที่สร้างโดยสมเด็จโตที่มีอายุ 150 ปีด้วยกล้อง 10X ภายใต้หลักการและเหตุผลทางวิทยาศาสร์
โรงเรียนถนอมพิศวิทยา
ติดต่อฝึกอบรม: อาจารย์อริยะ สุพรรณเภษัช
ผู้อำนวยการโรงเรียนถนอมพิศวิทยา
ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษามวลสารพระสมเด็จฯ
โทร 081-8033630
หมายเหตุ จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม ครั้งละ 1-2 คน เพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการฝึกอบรม
*************************************************************
หลักสูตรเซียนมวลสารสมเด็จ 081-8033630
โครงการศึกษาพระสมเด็จ
ด้วยการพิจารณาเนื้อหาและธรรมชาติความเก่าเชิงเปรียบเทียบ
ผ่านเศษแตกหักของพระสมเด็จทั้งสามวัดและพระตระกูลสมเด็จ
ยุค 1 พระที่มีอายุมากกว่าพระสมเด็จ
|
ยุค 2 พระร่วมสมัยพระสมเด็จ
|
พระสมเด็จอรหัง
|
พระสมเด็จ วัดระฆัง พิมพ์นิยม
|
พระวัดพลับ - พระวัดโค่ง
|
พระสมเด็จ วัดบางขุนพรหม
|
พระกรุวัดเงินคลองเตย
|
พระสมเด็จ วัดเกศไชโย พิมพ์นิยม
|
พระกรุวัดทัพข้าว
|
พระสมเด็จ วัดเกศไชโย พิมพ์ตลก
|
พระกรุวัดสามปลื้ม
|
พระสมเด็จ วัดบางขุนพรหม กรุเจดีย์เล็ก
|
ยุค 3 พระที่สร้างภายหลังพระสมเด็จ 2414-2430
|
ยุค 4 พระที่สร้างภายหลังพระสมเด็จ 2430-2480
|
พระสมเด็จปิลันทร์ วัดระฆัง
|
พระวัดรังษี วัดบวรนิเวศ
|
พระสมเด็จหลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร
|
พระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว
|
พระสมเด็จวัดเฉลิมพระเกียรติ
|
พระสมเด็จ เจ้าคุณสุนทร วัดกัลยา
|
พระวัดรังษี
|
พระสมเด็จ พระครูสังฆ์ วัดอินทรวิหาร
|
พระสมเด็จ วัดโพธิ์เกรียบ
|
พระสมเด็จแช่น้ำมนต์ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
|
พระกรุวัดอัมพวา
|
พระสมเด็จหลวงพ่อหม่น วัดคลองสิบสอง
|
พระสมเด็จ หลวงปู่อ้น วัดบางจาก
|
พระสมเด็จมฤคทายวัน หลวงปู่นาค วัดหัวหิน
|
พระสมเด็จ หลวงปู่ทรัพย์ วัดปากบาง
|
พระกรุวัดคู้สลอด
|
พระสมเด็จ หลวงปู่ปั้น วัดสะพานสูง
|
พระสมเด็จกรุวัดชนะสงคราม พิมพ์สมเด็จอรหัง
|
ยุค 5 พระที่สร้างภายหลังพระสมเด็จ 2481-2594
|
ยุค 6 พระที่สร้างภายหลังพระสมเด็จ 2495-2506
|
พระสมเด็จหลวงปู่นาค วัดระฆัง ยุคต้น 2485
|
พระสมเด็จหลวงปู่นาค วัดระฆัง ยุคกลาง 2495
|
พระสมเด็จพระครูมูล วัดสุทัศน์ พิมพ์ทรงเจดีย์
|
พระสมเด็จพระครูมูล วัดสุทัศน์ พิมพ์มีหน้าตา
|
พระชุดสระหลวงปู่เผือก รุ่นอินโดจีน
|
พระสมเด็จหลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว รุ่นสร้างเจดีย์
|
พระสมเด็จหลวงพ่อครื้น วัดสังโฆพิมพ์เข่าบ่วง
|
พระสมเด็จเผ่า วัดอินทรวิหาร
|
พระสมเด็จหลวงปู่รอด วัดเกริ่น
|
พระสมเด็จพิมพ์พระครูมูล วัดประสาทบุญญาวาศ
|
พระสมเด็จหลวงปู่เลี่ยม วัดศรีเรืองบุญ
|
พระสมเด็จวัดเกศไชโย วัดรุ่นสร้างเขื่อนปี 2495
|
พระกรุวัดอัมพวัน
|
พระสมเด็จหลวงพ่อโชติ วัดตะโน
|
หมายเหตุ พระสมเด็จ และพระตระกูลสมเด็จที่กำหนดไว้ดังกล่าวผู้ที่ศึกษาพึงหาโอกาสพิจารณาเชิงเปรียบเทียบเนื้อหา
มวลสารของพระสมเด็จในแต่ละยุค โดยให้แยกแยะยุคสมัยและเนื้อหาของพระสมเด็จทั้งหกยุคออกจากกันให้ได้
|
พระสมเด็จเนื้อครู ยุคที่ 1
เป็นพระเนื้อผงพุทธคุณที่สร้างก่อนพระสมเด็จวัดระฆัง
พระเนื้อครูหมายเลข 1 พระหลวงพ่อโต กรุวัดทัพข้าว ยุครัตนโกสินทร์ โซนเนื้อเหลือง พระเนื้อจัดมากเหมือนสมเด็จวัดระฆัง
พระเนื้อครูหมายเลข 2 พระหลวงพ่อโต กรุวัดทัพข้าว ยุครัตนโกสินทร์ โซนเนื้อขาวแก่ปูน
พระเนื้อครูหมายเลข 3 พระกรุวัดสามปลื้ม โซนเนื้อขาว เนื้อพระเปราะแตกหักง่าย เนื่องจากใช้วัสดุธรรมชาติ เช่น น้ำอ้อยเป็นตัวประสาน
พระเนื้อครูหมายเลข 4 พระกรุวัดเงินคลองเตย โซนเนื้อสีขาว
พระเนื้อครูหมายเลข 5 ชิ้นส่วนท่อนล่างพระสมเด็จอรหัง โซนเนื้อขาวจัดมาก
พระเนื้อครูหมายเลข 6 พระวัดพลับ โซนเนื้อขาว
พระเนื้อครูหมายเลข 7 พระวัดโค่ง โซนเนื้อขาวแก่ผงวิเศษ เนื้อจัดมาก เชื่อว่าสร้างโดยผู้สร้างเดียวกับพระวัดพลับ แต่ต่างพิมพ์ทรงเท่านั้น
พระเนื้อครูหมายเลข 8 พระสมเด็จพิมพ์ก้างปลาหลวงตาแสง วัดมณีชลขันธ์ อาจารย์ของสมเด็จโตฯ โซนเนื้อสีเหลืองจัดมาก
เนื้อจัดแก่มวลสารมาก
พระเนื้อครูหมายเลข 9 พระกรุวัดท้ายตลาด
พระเนื้อผงยุคที่ 2
พระสมเด็จวัดระฆัง พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม พระสมเด็จวัดเกศไชโย
|
|
|
พระเนื้อครูหมายเลข 10 พระสมเด็จวัดระฆังสภาพสึกเหลือแต่แก่น โซนเนื้อสีขาวแก่ปูน
พระเนื้อครูหมายเลข 11 ชิ้นส่วนพระสมเด็จวัดบางขุนพรหมแกะพิมพ์คะแนน โซนเนื้อสีขาวแก่ปูน
พระเนื้อครูหมายเลข 12 ชิ้นส่วนพระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์ตลก โซนเนื้อสีเหลือง
พระเนื้อครูหมายเลข 13 พระสมเด็จวัดเกศไชโยพิมพ์ 7 ชั้น B โซนเนื้อสีน้ำตาล เนื้อจัดมาก
พระเนื้อครูหมายเลข 14 ชิ้นส่วนพระสมเด็จวัดระฆังโซนเนื้อสีเหลือง เนื้อจัดมาก
พระเนื้อครูหมายเลข 15 ชิ้นส่วนพระสมเด็จวัดระฆังแกะเป็นพิมพ์สมเด็จ โซนเนื้อสีขาว
|
ยุคที่ 3พระผงที่สร้างระหว่างพ.ศ. 2415-2430
|
|
|
พระเนื้อครูหมายเลข 16 พระสมเด็จกรุวัดโพธิ์เกรียบ
พระเนื้อครูหมายเลข 17 พระสมเด็จหลวงปู่ปั้น วัดสะพานสูง
พระเนื้อครูหมายเลข 18 พระสมเด็จหลวงปู่ปั้น วัดสะพานสูง
พระเนื้อครูหมายเลข 19 ชิ้นส่วนพระสมเด็จหลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร
พระเนื้อครูหมายเลข 20 ชิ้นส่วนพระสมเด็จหลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร
พระเนื้อครูหมายเลข 21 พระสมเด็จหลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร
พระเนื้อครูหมายเลข 22 พระสมเด็จหลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร
พระเนื้อครูหมายเลข 23 พระสมเด็จหลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร
พระเนื้อครูหมายเลข 24 ชิ้นส่วนพระสมเด็จวัดเฉลิมพระเกียรติ
พระเนื้อครูหมายเลข 25 พระสมเด็จวัดเฉลิมพระเกียรติ
พระเนื้อครูหมายเลข 26 พระสมเด็จวัดเฉลิมพระเกียรติ
พระเนื้อครูหมายเลข 27 พระสมเด็จหลวงปู่อ้น วัดบางจาก
พระเนื้อครูหมายเลข 28 พระสมเด็จหลวงปู่อ้น วัดบางจาก
พระเนื้อครูหมายเลข 29 พระสมเด็จวัดปิลันทร์ วัดระฆัง
พระเนื้อครูหมายเลข 30 พระพิมพ์นาง กรุวัดปากบาง
พระเนื้อครูหมายเลข 31 พระลีลา กรุวัดปากบาง
พระเนื้อครูหมายเลข 31 พระพิมพ์เล็บมือ กรุวัดอัมพวา
พระเนื้อครูหมายเลข 32 พระวัดรังสี
พระเนื้อครูหมายเลข 33 พระวัดรังสี
ยุคที่ 4พระผงที่สร้างระหว่างพ.ศ. 2431-2480
|
|
|
พระเนื้อครูหมายเลข 34 พระสมเด็จกรุวัดพระแก้ว
พระเนื้อครูหมายเลข 35 พระสมเด็จเจ้าคุณสุนทร วัดกัลยา
พระเนื้อครูหมายเลข 36 พระสมเด็จเจ้าคุณสุนทร วัดกัลยา
พระเนื้อครูหมายเลข 37 พระสมเด็จเจ้าคุณสุนทร วัดกัลยา
พระเนื้อครูหมายเลข 38 พระสมเด็จพระครูสังส์ วัดอินทรวิหาร
พระเนื้อครูหมายเลข 39 พระสมเด็จพระครูสังฆ์ วัดอินทรวิ
พระเนื้อครูหมายเลข 40 พระสมเด็จหลวงพ่อหม่น วัดคลองสิบสอง
พระเนื้อครูหมายเลข 41 พระสมเด็จหลวงพ่อหม่น วัดคลองสิบสอง
พระเนื้อครูหมายเลข 42 พระพิมพ์ลีลาถือดอกบัวหลวงพ่อหม่น วัดคลองสิบสอง
พระเนื้อครูหมายเลข 43 พระพิมพ์ปางขัดสมาธิเพชร ฐานเจ็ดชั้น หลวงพ่อหม่น วัดคลองสิบสอง
พระเนื้อครูหมายเลข 44 พระสมเด็จวัดมฤคทายวัน
พระเนื้อครูหมายเลข 45 พระสมเด็จวัดมฤคทายวัน
พระเนื้อครูหมายเลข 46 พระสมเด็จโพธิ์แปดแช่น้ำมนต์ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
พระเนื้อครูหมายเลข 47 พระสมเด็จโพธิ์หกฐานเกยยุคต้นแช่น้ำมนต์ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
พระเนื้อครูหมายเลข 48 พระกรุวัดครูสลอด
พระเนื้อครูหมายเลข 49 พระกรุวัดครูสลอด
ยุคที่ 5พระผงที่สร้างระหว่างพ.ศ. 2480-2494
|
|
|
พระเนื้อครูหมายเลข 50 พระสมเด็จหลวงปู่นาค วัดระฆัง ยุคต้น แก่ผงวัดระฆัง ปี 2485
พระเนื้อครูหมายเลข 51 พระสมเด็จหลวงปู่นาค วัดระฆัง ยุคต้น แก่ผงวัดระฆัง ปี 2485
พระเนื้อครูหมายเลข 52 พระสมเด็จหลวงปู่นาค วัดระฆัง ยุคต้น แก่ผงวัดระฆัง ปี 2485
พระเนื้อครูหมายเลข 53 พระสมเด็จหลวงปู่นาค วัดระฆัง ยุคต้น แก่ผงวัดระฆัง ปี 2485
พระเนื้อครูหมายเลข 54 พระสมเด็จพระครูลมูล วัดสุทัศน์ พิมพ์ทรงเจดีย์ แก่ผงวัดระฆัง
พระเนื้อครูหมายเลข 55 พระสมเด็จพระครูลมูล วัดสุทัศน์ พิมพ์ทรงเจดีย์ แก่ผงวัดระฆัง
พระเนื้อครูหมายเลข 56 พระผงพิมพ์รัศมี หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว รุ่นอินโดจีน
พระเนื้อครูหมายเลข 57 พระสมเด็จพิมพ์เข่าบ่วง หลวงพ่อครื้น วัดสังโฆ
พระเนื้อครูหมายเลข 58 พระสมเด็จ หลวงปู่รอด วัดเกริ่น
พระเนื้อครูหมายเลข 59 พระสมเด็จ หลวงปู่เลี่ยม วัดศรีบุญเรื่อง
พระเนื้อครูหมายเลข 60 พระสมเด็จอรหัง กรุวัดชนะสงคราม
พระเนื้อครูหมายเลข 61 พระผงกลีบบัว วัดอัมพวัน
ยุคที่ 6 พระผงที่สร้างระหว่างพ.ศ. 2495-2506
|
|
|
พระเนื้อครูหมายเลข 62 พระคะแนนพันหลวงปู่นาค วัดระฆังพิมพ์รูปเหมือนสมเด็จโต พิมพ์ใหญ่ ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 63 พระคะแนนพันหลวงปู่นาค วัดระฆัง พิมพ์รูปเหมือนะสมเด็จโต พิมพ์กลาง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 64 พระผงรูปเหมือนสมเด็จโต พิมพ์เล็กหลวงปู่นาค วัดระฆัง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 65 พระสมเด็จพิมพ์ชิ้นฝักนิยมหลวงปู่นาค วัดระฆัง สร้าง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 66 พระสมเด็จพิมพ์เทวดาอกร่องหูบายศรี นิยม หลวงปู่นาค วัดระฆัง สร้าง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 66 พระสมเด็จพิมพ์เทวดาอกร่องหูบายศรี นิยม หลวงปู่นาค วัดระฆัง สร้าง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 67 พระสมเด็จพิมพ์เทวดาหลวงปู่นาค วัดระฆัง สร้าง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 68 พระสมเด็จพิมพ์สามชั้นฐานสิงห์ หลวงปู่นาค วัดระฆัง สร้าง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 69 พระสมเด็จพิมพ์ปรกโพธิ์ฐานแซมหลวงปู่นาค วัดระฆัง สร้าง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 70 พระสมเด็จพระครูมูล วัดสุทัศน์พิมพ์มีหน้าตา แก่ผงวัดระฆัง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 71 พระสมเด็จพระครูมูล วัดสุทัศน์พิมพ์มีหน้าตา แก่ผงวัดระฆัง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 72 พระสมเด็จพระครูมูล วัดสุทัศน์พิมพ์มีหน้าตา แก่ผงวัดระฆัง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 73 พระสมเด็จพระครูมูล วัดสุทัศน์พิมพ์มีหน้าตา แก่ผงวัดระฆัง ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 74 พระสมเด็จวัดประสาทบุญญาวาศ พิมพ์พระครูมูล แก่ผงวัดบางขุนพรหม ปี 2506
พระเนื้อครูหมายเลข 75 พระสมเด็จวัดประสาทบุญญาวาศ พิมพ์พระครูมูล แก่ผงวัดบางขุนพรหม ปี 2506
พระเนื้อครูหมายเลข 76 พระสมเด็จวัดประสาทบุญญาวาศ พิมพ์พระครูมูล แก่ผงวัดบางขุนพรหม ปี 2506
พระเนื้อครูหมายเลข 77 พระสมเด็จวัดประสาทบุญญาวาศ พิมพ์พระครูมูล แก่ผงและดินกรุวัดบางขุนพรหม ปี 2506
พระเนื้อครูหมายเลข 78 พระสมเด็จวัดประสาทบุญญาวาศ พิมพ์แขนกว้าง แก่ผงวัดบางขุนพรหม ปี 2506
พระเนื้อครูหมายเลข 79 พระสมเด็จหลวงพ่อโชติ ว้ดตะโน พิมพ์ขาโต๊ะ
พระเนื้อครูหมายเลข 80 พระพิมพ์รัศมี ร่นสร้างเจดีย์ หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว ปี 2496
พระเนื้อครูหมายเลข 81 พระสมเด็จเก้าชั้นอกวี ร่นสร้างเจดีย์ หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว ปี 2496
พระเนื้อครูหมายเลข 82 พระสมเด็จวัดเกศไชโย รุ่นสร้างเชื่อน ปี 2495
พระเนื้อครูหมายเลข 83 พระสมเด็จเผ่า วัดอินทรวิหาร ปี 2495
|
|
|
|